การดำเนินการเพื่อจัดการ ความเสี่ยงการทุจริต 

รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน

ที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน

ประจ าปีงบประมาณ .. 256ุ6

 

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุทัยธานี ชัยนาท 

สำนักนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 

คำนำ

             โรงเรียนเนินขามรัฐประชานุเคราะห์  ดำเนินการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิด ผลประโยชน์ทับซ้อน โดยวิเคราะห์ ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน ตาม มาตรฐาน COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission) เพื่อก าหนดมาตรการส าคัญเร่งด่วน เชิงรุกในการป้องกันการทุจริต การบริหารงาน ที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ และ การแก้ไขปัญหาการกระทำผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐที่เป็นปัญหาสำคัญและพบบ่อย นอกจากนี้ ยังน าความ เสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อนที่ได้นี้มาก าหนดเป็นคู่มือป้องกันผลประโยชน์ทับ ซ้อน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอีกด้วย เพื่อบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ

ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 5 (พ.ศ. 2566 – 2570)           

โรงเรียนเนินขามรัฐประชานุเคราะห์

พฤษภาคม  ๒๕๖๖

 

 

 

สารบัญ                                                                                                                             หน้า

คำนำ

สารบัญ ส่วนที่ 1 บทน

หลักการและเหตุผล                                                                                                                  4 

วัตถุประสงค์                                                                                   

ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน     

การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน (Risk Assessment for  Conflict of Interest)      7

การวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน                                 9 

การดดำเนินการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิด

ผลประโยชน์ทับซ้อน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๕                                         11

แนวทางการป้องกันความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิด

 ผลประโยชน์ทับซ้อน                                                                                                              

แผนจัดการความเสี่ยงป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน                                                                       14

ส่วนที่ผลการจัดการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน     

ประโยชน์ของการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน                                                       17

ปัญหาและอุปสรรคของการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน            

แนวทางปรับปรุงแก้ไขความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน                                

ภาคผนวก                                                                                                                                  19

 คำสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการเคราะห์ความเสี่ยงด้านผลประโยชน์ทับซ้อน                 

 

 ส่วนที่ 1

 

บทนำ

 

  1. หลักการและเหตุผล

การมีผลประโยชน์ทับซ้อนถือเป็นการทุจริตคอร์รัปชั่นประเภทหนึ่ง เพราะเป็นการแสวงหา ประโยชน์ส่วนบุคคลโดยการละเมิดต่อกฎหมายหรือจริยธรรมด้วยการใช้อ านาจในต าแหน่งหน้าที่ไปแทรกแซง การใช้ ดุลยพินิจในกระบวนการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ของรัฐ จนท าให้เกิดการละทิ้งคุณธรรมในการปฏิบัติหน้าที่สาธารณะ ขาดความเป็นอิสระ ความเป็นกลาง และความเป็นธรรม จนส่งผลกระทบต่อประโยชน์สาธารณะของส่วนรวม และท า ให้ผลประโยชน์หลักขององค์กร หน่วยงาน สถาบันและสังคมต้องสูญเสียไป โดยผลประโยชน์ที่สูญเสียไปอาจอยู่ในรูป ของผลประโยชน์ทางการเงิน คุณภาพการให้บริการ ความเป็นธรรมในสังคม รวมถึงคุณค่าอื่น ๆ ตลอดจนโอกาส ในอนาคตตั้งแต่ระดับองค์กรจนถึงระดับสังคม อย่างไรก็ตามท่ามกลางผู้ที่จงใจกระท าความผิด ยังพบผู้กระท า ความผิดโดยไม่เจตนาหรือไม่มีความรู้ในเรื่องดังกล่าวอีกเป็นจ านวนมาก จนน าไปสู่การถูกกล่าวหาร้องเรียนเรื่องทุจริต หรือถูกลงโทษทางอาญา ผลประโยชน์ทับซ้อน หรือความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม (Conflict of interest : COI) เป็นประเด็นปัญหาทางการบริหารภาครัฐในปัจจุบันที่เป็นบ่อเกิดของปัญหา การทุจริตประพฤติมิชอบในระดับที่รุนแรงขึ้น และยังสะท้อนปัญหาการขาดหลักธรรมาภิบาลและเป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาประเทศ อีกด้วย 

โรงเรียนเนินขามรัฐประชานุเคราะห์   ด าเนินการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจ เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อนตามมาตรฐาน COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission) เป็นกรอบการ วิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ ทับซ้อน 

การวิเคราะห์ความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เป็นระบบในการบริหารปัจจัย

และควบคุมกระบวนการปฏิบัติงานเพื่อลดมูลเหตุของโอกาสที่จะท าให้เกิดความเสียหายจาก การปฏิบัติงานที่อาจเกิด ผลประโยชน์ทับซ้อน 

ประเภทของความเสี่ยง แบ่งออกเป็น ๔ ด้าน ดังนี้

  1.      ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk: S) หมายถึง ความเสี่ยงเกี่ยวกับการบรรลุเป้าหมาย

และพันธกิจในภาพรวมที่เกิดจากเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และเหตุการณ์ภายนอกที่ส่งผลต่อ กลยุทธ์ที่ก าหนดไว้ และการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ไม่เหมาะสม รวมถึงความไม่สอดคล้องกันระหว่างนโยบาย เป้าหมายกลยุทธ์ โครงสร้างองค์กร ภาวการณ์แข่งขัน ทรัพยากรและสภาพแวดล้อม อันส่งผลกระทบ ต่อวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์กร 

  1. ความเสี่ยงด้านการด าเนินงาน (Operational Risk: O)เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพประสิทธิผล

หรือผลการปฏิบัติงาน โดยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยงเนื่องจากระบบงานภายในขององค์กร/กระบวนการเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่ใช้/บุคลากร/ความเพียงพอของข้อมูล ส่งผลต่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการด าเนิน โครงการ 

  1.     ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk: F)เป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ

และการเงิน เช่น การบริหารการเงินที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม ท าให้ขาดประสิทธิภาพ และไม่ทันต่อสถานการณ์ หรือ เป็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการเงินขององค์การ เช่นการประมาณการงบประมาณไม่เพียงพอ และ ไม่สอดคล้องกับ ขั้นตอนการด าเนินการ เป็นต้น เนื่องจากขาดการจัดหาข้อมูล การวิเคราะห์ การวางแผน การควบคุม และการจัดท า รายงานเพื่อน ามาใช้ในการบริหารงบประมาณ และการเงินดังกล่าว 

  1. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk: C) เกี่ยวข้องกับการ

ปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ โดยความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเป็นความเสี่ยง เนื่องจากความไม่ชัดเจน ความไม่ทันสมัยหรือ ความไม่ครอบคลุมของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ รวมถึงการท านิติกรรมสัญญา การร่างสัญญา ที่ไม่ครอบคลุมการด าเนินงาน 

สาเหตุของการเกิดความเสี่ยง อาจเกิดจากปัจจัยหลัก ปัจจัย คือ

  1. ปัจจัยภายใน   เช่น นโยบายของผู้บริหาร ความซื่อสัตย์ จริยธรรม คุณภาพของบุคลากร และการ เปลี่ยนแปลงระบบงานความเชื่อถือได้ของระบบสารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงผู้บริหารและเจ้าหน้าที่บ่อยครั้ง การควบคุม ก ากับดูแลไม่ทั่วถึง และการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับของหน่วยงาน เป็นต้น
  2. ปัจจัยภายนอก     เช่น กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการ การเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยี หรือ สภาพการแข่งขัน สภาวะแวดล้อมทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง เป็นต้น 

ผลประโยชน์ทับซ้อน  หมายถึง สภาวการณ์ หรือข้อเท็จจริงที่บุคคล ไม่ว่าจะเป็นนักการเมือง

ข้าราชการ พนักงานบริษัท หรือผู้บริหารซึ่งมีอ านาจหน้าที่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งหน้าที่ ที่บุคคล นั้นรับผิดชอบอยู่ และส่งผลกระทบต่อประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งการกระท านั้นอาจจะเกิดขึ้นอย่างรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว ทั้งเจตนาและไม่เจตนา และมีรูปแบบที่หลากหลายไม่จ ากัดอยู่ในรูปของตัวเงินหรือทรัพย์สินเท่านั้น แต่รวมถึง ผลประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่ใช่ในรูปตัวเงินหรือทรัพย์สินก็ได้ อาทิ การแต่งตั้งพรรคพวกเข้าไปด ารงต าแหน่งในองค์กรต่างๆ ทั้งในหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และบริษัทจ ากัดหรือการที่บุคคลผู้มีอ านาจหน้าที่ตัดสินใจให้ญาติพี่น้องหรือ บริษัทที่ตนมีส่วนได้ส่วนเสียได้รับสัมปทานหรือผลประโยชน์ จากทางราชการโดยมิชอบ ส่งผลให้บุคคลนั้นขาดการ ตัดสินใจที่เที่ยงธรรม เนื่องจากยึดผลประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก ผลเสีย จึงเกิดขึ้นกับประเทศชาติ การกระท าแบบนี้ เป็นการกระท าที่ผิดทางจริยธรรมและจรรยาบรรณ 

การวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน          จึงหมายถึง กระบวนการวิเคราะห์

ความเสี่ยงที่เป็นระบบในการบริหารปัจจัยและควบคุมกระบวนการปฏิบัติงานเพื่อลดมูลเหตุของโอกาส ที่จะท าให้เกิด ความเสียหายจากการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน หรือความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นส าคัญ อันเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับการทุจริต กล่าวคือ ยิ่งมีสถานการณ์หรือ สภาวการณ์ของการขัดกันของผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม มากเท่าใด ก็ยิ่งมีโอกาสก่อให้เกิดหรือ

  • าไปสู่การทุจริตมากเท่านั้นการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน เป็นเรื่องที่มีความส าคัญดังกล่าวข้างต้น  ในเกณฑ์การประเมิน ความโปร่งใสในการด าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) จึงได้มีการประเมินในด้านการต่อต้านการทุริตในองค์กร  เกี่ยวกับการด าเนินงาน เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน  โดยมีการประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based)  ให้มีการด าเนินการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน  เพื่อก าหนด มาตรการส าคัญในการป้องกันการทุจริต  การบริหารงานที่โปร่งใสและตรวจสอบได้  การแก้ไขปัญหาการกระท าผิด วินัยของเจ้าหน้าที่รัฐที่เป็นปัญหาส าคัญและพบบ่อย  นอกจากนี้ยังน าความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิด ผลประโยชน์ทับซ้อนที่ได้นี้มาก าหนดเป็นคู่มือป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน  และเป็นส่วนหนึ่งของแผนปฏิบัติการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๕  อีกด้วย
  1. วัตถุประสงค์     
  2. เพื่อสร้าง สืบทอดวัฒนธรรมสุจริต และแสดงเจตจ านงสุจริตในการบริหารราชการให้เกิด ความคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม 
  3. เพื่อแสดงความมุ่งมั่นในการบริหารราชการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล 
  4. เพื่อตรวจสอบการบริหารงานและการปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่รัฐ ไม่ให้เกิดการแสวงหา ผลประโยชน์ส่วนตัวในต าแหน่งหน้าที่อันมิควรได้โดยชอบตามกฎหมาย ให้ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม เป็นแบบอย่าง ที่ดียืนหยัดท าในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม ถูกกฎหมาย โปร่งใส และตรวจสอบได้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาต่อการบริหารราชการแผ่นดินแก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และประชาชน

ดาวน์โหลดเอกสารทั้งหมด  ดาวน์โหลด report_O35